บันทึกอนุทินครั้งที่ 4 วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ 2558
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่4 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
วิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ 2558
เนื้อหา
1.ทฤษฎีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
2.จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
3.ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
4.หลักการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
2.จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
3.ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
4.หลักการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
-เพื่อให้เด็กสามารถเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ รู้จักคำศัพท์ในคณิตศาสตร์ที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน
-เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ให้รู้จักว่าการบวกคือการทำให้เพิ่มมากขึ้น การลบคือการทำให้ลดลง
-ให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
-เพื่อให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
-เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
-เพื่อให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
ทักษะพื้นฐาน
1.การสังเกต (Observation)
-การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ตา หู จมูก ลิ้น ผิวสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน
-การใช้ปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
2.จำแนกประเภท(Classifying)
-การแบ่งประเภทสิ่งของโดยสร้างเกณฑ์ในการแบ่ง
-เกณฑ์ในการจำแนกคือ ความเหมือน แตกต่าง หาความสัมพันธ์
3.การเปรียบเทียบ(Comparing)
-เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
-เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์
4.การจัดลำดับ(Ordering)
-เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
-เป็นการจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
5.การวัด(Measurement)
-มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
-การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง
6.การนับ(Counting)
-เด็กชอบนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
-การนับแบบท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง
7.รูปทรงและขนาด(Sharp and Size)
-เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาด ก่อนจะเข้าโรงเรียน
วิธีการสอน
-เพื่อให้เด็กสามารถเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ รู้จักคำศัพท์ในคณิตศาสตร์ที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน
-เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ให้รู้จักว่าการบวกคือการทำให้เพิ่มมากขึ้น การลบคือการทำให้ลดลง
-ให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
-เพื่อให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
-เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
-เพื่อให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
ทักษะพื้นฐาน
1.การสังเกต (Observation)
-การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ตา หู จมูก ลิ้น ผิวสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน
-การใช้ปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
2.จำแนกประเภท(Classifying)
-การแบ่งประเภทสิ่งของโดยสร้างเกณฑ์ในการแบ่ง
-เกณฑ์ในการจำแนกคือ ความเหมือน แตกต่าง หาความสัมพันธ์
3.การเปรียบเทียบ(Comparing)
-เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
-เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์
4.การจัดลำดับ(Ordering)
-เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
-เป็นการจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
5.การวัด(Measurement)
-มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
-การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง
6.การนับ(Counting)
-การนับแบบท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง
7.รูปทรงและขนาด(Sharp and Size)
-เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาด ก่อนจะเข้าโรงเรียน
วิธีการสอน
- มีแบบฝึกหัดก่อนเรียนเพื่อทราบถึงความรู้เดิมที่มีเกี่ยวกับทฤษฏี จุดมุงหมาย ขอบข่าย ของคณิตศาสตร์
- มีการการถาม-ตอบเกี่ยวกับคณิศาสตร์
- มีการทำกิจกรรมโดยการทำป้ายชื่อแล้วออกไปติดตอนตอบคำถาม
- ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการสอน
ทักษะ
ทักษะ
- ทักษะการการสอนที่ประยุกต์จากเหตูการณ์ปัจจุบัน
- ทักษะในการคิด และตอบคำถาม
- ทักษะในการกล้าแสดงออก และมีความมั่นใจ
- ทักษะในการดัดแปลงเนื้อเพลงให้เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์
การนำไปประยุกต์ใช้
การนำไปประยุกต์ใช้
นำความรู้ที่ได้ไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้อย่างเหมาะสมโดยจะต้องให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจทักษะพื้นฐานทางด้านต่างๆอย่างดี
บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะเก้าอี้จัดเป็นระเบียบเรียบร้อย พื้นห้องสะอาด วัสดุอุปกรณ์ในการเรียนการสอนมีพร้อม ความสนุกสนุกสนานเพราะมีการเชอร์ไพร์วันเกิดเพื่อนในห้องทุกคนดูมีความสุข
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายแต่ออกไปทำธุระส่วนตัวช่วงหนึ่งทำให้เข้ามาไม่ทันตอนอาจารย์พูดเรื่อง การนับ รูปทรงและขนาด
ประเมินเพื่อน
ให้ความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็นและรวมทำกิจกรรมต่างๆ
ประเมินอาจารย์
มีน้ำเสียงในการสอนที่หลากหลายในการใช้เสียงสูงต่ำประยุกต์เหตุการปัจจุบันเพื่อจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการเรียนมาให้นักศึกษาทำ แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
บรรยากาศในห้องเรียน
โต๊ะเก้าอี้จัดเป็นระเบียบเรียบร้อย พื้นห้องสะอาด วัสดุอุปกรณ์ในการเรียนการสอนมีพร้อม ความสนุกสนุกสนานเพราะมีการเชอร์ไพร์วันเกิดเพื่อนในห้องทุกคนดูมีความสุข
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน แสดงความคิดเห็น และทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายแต่ออกไปทำธุระส่วนตัวช่วงหนึ่งทำให้เข้ามาไม่ทันตอนอาจารย์พูดเรื่อง การนับ รูปทรงและขนาด
ประเมินเพื่อน
ให้ความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็นและรวมทำกิจกรรมต่างๆ
ประเมินอาจารย์
มีน้ำเสียงในการสอนที่หลากหลายในการใช้เสียงสูงต่ำประยุกต์เหตุการปัจจุบันเพื่อจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการเรียนมาให้นักศึกษาทำ แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น